THE DEFINITIVE GUIDE TO วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

The Definitive Guide to วิกฤตคนจน

Blog Article

ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้องกับบุคคล เช่น รายได้ อาชีพ สภาพความเป็นอยู่

ที่มา: ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ดาวน์โหลด วิกฤติความยากจนในเอเชีย

อินโฟกราฟิก: การแก้ไขปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

ข้อมูลทางการที่รายงานโดยกรมสุขภาพจิตนั้น มีตัวชี้วัดหลัก ๆ สามตัว ได้แก่

We also use 3rd-party cookies that assist us examine and know how you utilize this Web site. These cookies will likely be saved in your browser only along with your consent. You also have the choice to decide-out of such cookies. But opting outside of A few of these cookies could influence your searching encounter.

นอกจากนั้นหน่วยงานในระดับท้องถิ่นเอง ต้องตระหนักในบทบาทหน้าที่ และทำงานร่วมกับองค์กรเอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาชนในพื้นที่ สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในชุมชน ด้วยการส่งเสริมอาชีพและการสร้างรายให้เหมาะสมตามบริบทพื้นที่นั้น ๆ ร่วมมือกับชาวบ้านเพื่อดึงจุดเด่นของชุมชนมาสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ

ที่มา: ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิต และสภาคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

กลุ่มประชาชนที่ยากจนได้รับผลกระทบมากจากต้นทุนค่าครองชีพที่สูงขึ้น ราคาอาหารและพลังงานปรับตัวสูงขึ้นส่งต่อผลอำนาจซื้อของประชาชนกลุ่มเปราะบาง ทำให้ต้องจัดสรรเงินรายได้เพื่อการบริโภคประจำวันมากขึ้น  ต้องลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในระยะยาว กลุ่มประชาชนผู้หญิงได้รับผลกระทบมากกว่ากลุ่มผู้ชาย เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้วผู้หญิงมีรายได้ต่ำกว่าผู้ชาย และทำงานอยู่ในสาขาที่ไม่ได้รับค่าจ้าง เช่น งานบ้าน งานดูแลผู้สูงอายุ

ส่วนรูปธรรมหนึ่งของวลีเชิงวิชาการ “ประเทศไทยติดกับดักรายได้ปานกลาง” คือ ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชาชนไทยตกอยู่ในอันดับที่น่าเป็นห่วง แต่การรับรู้ได้ถึงสถานการณ์ “ความยากจน” ที่แท้จริงนั้น คงไม่มีใครตอบได้ นอกจากเจ้าตัว ว่าชีวิตความเป็นอยู่ที่ว่ายากจนนั้นอยู่ในระดับไหน

ความเหลื่อมล้ำทาง “รายได้และทรัพย์สิน” โดยรวมของโลก

ตัวอย่างของวงจรนี้ คือ ครัวเรือนยากจน มักจะขาดแคลนอาหาร, ขาดน้ำสะอาด, ไม่ได้เข้าโรงเรียน พวกเขามักเจ็บป่วยเป็นโรคต่าง ๆ ขาดกำลังและทักษะในการทำงาน ส่งผลให้ผลิตภาพต่ำ รายได้ต่ำหรือไม่มีรายได้ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากนี้ ยังไม่มีความสามารถควบคุมตนเอง อัตราการมีบุตรสูง ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย วิกฤตคนจน มีภาระพึ่งพิงมากขึ้น ครัวเรือนยากจน

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

Report this page